รวบรวมสายพันธุ์กล้วย
  • หน้าหลัก
  • ก
    • กล้วยกล้าย
    • กล้วยกาไน
  • ข
    • กล้วยขนุน
    • กล้วยไข่กำแพงเพชร
    • กล้วยไข่ดำ
    • กล้วยไข่พระตะบอง
  • ค
    • กล้วยครั่ง
    • กล้วยคาดาบา
  • ง
    • กล้วยงาช้าง
  • ซ
    • กล้วยซาบา
  • ท
    • กล้วยทองกำปั่น
    • กล้วยทองเงย
    • กล้วยเทพนม
    • กล้วยเทพรส
  • น
    • กล้วยนมสาว
    • กล้วยนมหมี
    • กล้วยนาก
    • กล้วยนางพญา
    • กล้วยน้ำไท
    • กล้วยน้ำฝาด
    • กล้วยน้ำว้าค่อม
    • กล้วยน้ำว้าดำ
    • กล้วยน้ำว้าทองมาเอง
    • กล้วยน้ำว้านวล
    • กล้วยน้ำว้ามะลิอ่อง
    • กล้วยน้ำหมาก
    • กล้วยนิ้วจระเข้
    • กล้วยนิ้วนางรำ
  • ต
    • กล้วยตานีดำ
  • บ
    • กล้วยบัวแดง
    • กล้วยบัวสีชมพู
    • กล้วยบัวสีม่วง
    • กล้วยบัวสีส้ม
    • กล้วยบัวหลวง
  • ป
    • กล้วยป่าปลีเหลือง
    • กล้วยปิซังปาเปน
  • พ
    • กล้วยพระราม
    • กล้วยพัด
  • ม
    • กล้วยมาฮอย
  • ร
    • กล้วยร้อยปลี
    • กล้วยร้อยหวี
    • กล้วยเรดฮาวาย
    • กล้วยโรส
    • กล้วยรุ่งอรุณ
  • ล
    • กล้วยลามัท
    • กล้วยเล็บช้างกุด
    • กล้วยแลนดี้
  • ส
    • กล้วยสา
    • กล้วยสาวกระทืบหอ
    • กล้วยแส้ม้า
  • ห
    • กล้วยหอมแกรนด์เนน
    • กล้วยหอมเขียวค่อม
    • กล้วยหอมจันทน์
    • กล้วยหอมจำปา
    • กล้วยหอมทอง
    • กล้วยหอมสั้น
    • กล้วยหักมุกทอง
    • กล้วยหักมุกพม่า
    • กล้วยหักมุกส้ม
  • ฮ
    • กล้วยฮัวเมา
  • อ้างอิง
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธุ์ 2558

กล้วยน้ำว้าดำ

วงศ์     Musaceae
ชื่อไทย  กล้วยน้ำว้าดำ
ชื่อพ้อง กล้วยน้ำว้าทองสัมฤทธิ์  น้ำว้าไฟ                    น้ำว้าสำริด 
Siamese Blue

กล้วยน้ำว้าดำ
1. ข้อมูลทั่วไป
          ถิ่นอาศัย          ภาคกลาง
          แหล่งที่พบ       จังหวัดนนทบุรี

2. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
          ลำต้น ลำต้นเทียมสูง 3.0-3.5 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางลำต้นเทียมมากกว่า 15 เซนติเมตร สีของกาบลำต้นเทียมด้านนอกสีเขียว มีปื้นดำเป็นแถบกว้าง ไม่มีนวล กาบด้านในสีเหลืองซีดสม่ำเสมอ มีปื้นแดง
          ใบ ก้านใบค่อนข้างปิด ก้านใบสีเขียวและมีแถบดำ โดยเฉพาะก้านใบด้านล่างจะแถบสีดำ มีครีบก้านใบสีดำ
          ปลี หรือดอก ก้านช่อดอกไม่มีขน ลักษณะของใบประดับค่อนข้างยาว ด้านนอกสีม่วงอมแดง มีไข ด้านในสีแดงเข้มสม่ำเสมอ ปลายใบประดับแหลม ม้วนงอขึ้น การเรียงของใบประดับไม่ซ้อนกันลึก ดอกมีก้านดอกค่อนข้างยาว
          ผล ผลขนาดปานกลาง ทรงกระบอก มีเหลี่ยมผล ปลายผลมีจุก การเรียงของผลเป็นระเบียบ จำนวนหวีต่อเครอประมาณ 9-10 หวี หวีหนึ่งมีประมาณ 17-18 ผล ขนาดผลยาว 14-15 เซนติเมตร เส้นรอบวงผล 10-12 เซนติเมตร ผลอ่อนมีสีเขียวและจะเริ่มมีกระสีน้ำตาลทองหรือสีสนิม เนื้อผลสีขาว รสชาติหวานเล็กน้อย เนื้อแน่น มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ไม่มีเมล็ด

3. การปลูกเลี้ยงและการใช้ประโยชน์
          การปลูกเลี้ยง    ขุดหลุมขนาด 30x30x30 เซนติเมตร วางหน่อลงปลูกกลางหลุม กลบดินโดยรอบให้แน่น หลังปลูก 1 เดือนให้ใส่ปุ๋ยสูตร 46-0-0 จากนั้นให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 สลับกับปุ๋ยอินทรีย์ทุก 3 เดือน
          การใช้ประโยชน์ รับประทานผล

NEXT
กลับสู่หน้าหลัก
Powered by Create your own unique website with customizable templates.